businesswoman-617129__340

ภาวะผู้นำ ด้วย 5Q (Leadership with 5Q)

 

หลักสูตร ภาวะผู้นำ ด้วย 5Q  (Leadership with 5Q)

 

5Q คืออะไร?

การเป็นผู้นำที่จะประสบความสำเร็จตามที่ได้วางไว้ได้อย่างดี มีองค์ประกอบมากมายที่จะนำมาพิจารณาการทำงานให้บรรลุเป้าหมายและไปในทิศทางเดียวกันนั้นจะใช้ความรู้ความสามารถเพียงด้านเดียวคงจะไม่พอต่อการถึงจุดหมายปลายทาง

การพัฒนาระดับความสามารถ (Quotient) ในด้านต่างๆ ของผู้นำนั้นจึงเป็นประเด็นที่สำคัญที่จะทำให้คนประสบความสำเร็จในการใช้ชีวิต และส่งให้ชีวิตการทำงานดีขึ้นไปด้วยจึงจะเรียกว่า การเป็นผู้นำและนักบริหารมืออาชีพ

 

การพัฒนาผู้นำ ให้มีภาวะผู้นำนั้น จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับ ทั้ง 3 ด้าน  อันได้แก่

1.ความรู้ความสามารถในงาน
2.การคิดเชิงกลยุทธ์
3.การพัฒนาภาวะผู้นำเพื่อให้ผู้นำและนักบริหารมืออาชีพพัฒนาตัวเอง เป็นผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

 

ผู้นำและผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพ จะทำให้รู้จักตัวเอง, รู้จักพนักงาน, รู้จักองค์กรและมีทัศนคติเชิงบวก ทำให้การบริหารงานได้ตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้อย่างสัมฤทธิผลสำคัญโดยง่าย และเมื่อพัฒนาทีมงานโดย จัดการทำเอง จัดการพนักงาน จัดองค์การให้เหมาะสมและบริหารอย่างสร้างสรรค์แล้ว ก็จะกลายเป็นผู้นำและนักบริหารมืออาชีพที่ทรงคุณค่า

การพัฒนาระดับความสามารถในด้านต่างๆ ที่สำคัญ (5Q) ของผู้นำนั้น จึงเป็นแนวทางที่องค์กรส่วนใหญ่อยากให้เกิดขึ้นกับผู้นำในองค์กรของตัวเองโดยการทำให้ผู้นำมี 5Q ที่สูงขึ้น

IQ : ทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างฉลาด

EQ : การจัดการอารมณ์เชิงลบของตัวเอง

AQ : การเปลี่ยนอุปสรรคให้เป็นโอกาสที่ท้าทาย

OQ : การแสดงผลงานที่มีคุณค่า

UQ : การเป็นบุคคลที่มีจริยธรรมอันดี

 

การประยุกต์ใช้แนวทางบริหารจัดการ Q (Quotient) ต่างๆ กับเป้าหมายในชีวิตหรืองานที่ได้รับ รวมถึงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ย่อมทำให้ผู้นำสามารถพิชิตเป้าหมายของตัวเอง และมีความสัมพันธ์ที่มีต่อบุคคลรอบข้าง  รวมถึงการเป็นผู้นำที่มีจิตใจที่ดีขององค์กร จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน

การเรียนรู้และนำแนวทางไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างเข้าใจแนวทาง 5Q นั้น จะทำให้ผู้นำได้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่และเต็มกำลัง นั่นก็หมายความว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลที่ดีขึ้น จึงทำให้เกิดผลงานที่มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

โดยที่ Q แต่ละตัวจะสอดคล้องกันและทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยมีหลักของสมาธิเข้าไปเป็นพื้นฐานของสิ่งเหล่านี้จะทำให้เป็น 5Q แบบยั่งยืนแล้วเป็นต้นแบบเพื่อองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ได้นำไปปรับใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรตัวเอง

หลักสูตรฯ ให้สิ่งใดแก่ผู้เข้าอบรม

  1. สร้างมุมมองการอยู่ร่วมกันที่แตกต่างแต่ไม่แตกแยกของผู้นำ โดยรู้จักตนเองและเข้าใจผู้อื่น ผู้นำสามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด เพิ่มประสิทธิผลของการสื่อสาร และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตนเองกับผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างลงตัว สามารถประยุกต์ใช้ 5Q กับการทำงานเพื่อการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น
  2. เกิดการเรียนรู้กระบวนการของ 5Q ของผู้นำที่ดีที่มีภาวะของผู้นำ และนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีรูปแบบและเห็นผล มีมุมมองปัญหาและอุปสรรคของงานที่เจออยู่ด้วยมุมมองใหม่ๆ สามารถนำวิธีการ 5Q ของผู้นำมาใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
  3. ได้ปรับบุคลิกภาพของผู้นำให้เข้ากับผู้อื่นอย่างเหมาะสม
  4. เข้าใจการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพของผู้นำ และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
  5. ได้จุดร่วม และสงวนจุดต่างของผู้นำและการอยู่ร่วมกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข และบรรลุเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน
  6. ค้นพบ “ตัวตน” ของผู้นำในแบบฉบับที่แท้จริงของตนเอง สามารถนำพาตนเองและองค์กรที่มีความหลากหลายไปสู่จุดหมายที่ตั้งไว้ รวมถึงประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจําวันและการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  7. เข้าใจหลักของ 5Q ผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้

– สนุกกับการใช้ IQ (Intelligence Quotient) แก้ปัญหาต่างๆ

– พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ EQ (Emotional Quotient)

– ก้าวข้ามอุปสรรค AQ (Adversity Quotient) อย่างกล้าหาญ

– แสดงผลงานอย่างมีคุณค่าด้วยความเป็นเจ้าของ OQ (Optimist Quotient)

– พัฒนาตนเองเพื่ออยู่ร่วมกับสังคม UQ (Unity Quotient)  อย่างมีความสุข

  1. ได้ทดลองปฏิบัติผ่าน Workshop: กำหนดแนวทางพัฒนา 5Q ของตนเอง

ลักษณะของการอบรม

เป็นการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการ ผ่าน Work Shop และกิจกรรมต่างๆ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า 5Q (IQ EQ OQ AQ UQ ) และ OD ที่หลากหลายประเภทผสมผสานกัน เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาทางวิชาการให้เข้าใจได้ง่าย สามารถนำไปปรับใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

วิธีการ

  1. บรรยายเนื้อหาวิชาการประกอบการทำ Work Shop และกิจกรรมกลุ่ม ในอัตราส่วน เนื้อหาวิชาการ 70 : Work Shop กิจกรรม 30
  2. การใช้เครื่องมือทางด้าน 5Q และ OD tools และเทคนิคการฝึกอบรมหลายประเภท เช่น
  • Ai (Appreciative Inquiry)
  • Dialogue สุนทรียะสนทนา
  • เกมพฤติกรรม
  • Work Shop
  • การระดมความคิดด้วย 5Q
  • Clip VDO และอื่นๆ

 

หัวข้อสำคัญในการเรียนรู้

  • หลักและวิธีการจัดการงานและคนอย่างมีประสิทธิภาพด้วย 5Q
    • ใครคือคนที่องค์กรต้องการ
    • บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน
    • ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการจัดการ
    • เรียนรู้คน จากโมเดลผู้นำ 4 ทิศ
  • การสร้างแรงผลักดันให้ลูกน้องทำงานและมุ่งมั่นทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
    • ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ ในการทำงาน
  • เรียนรู้ทักษะการบริหารจัดการงานโดยสามารถวางแผนงานที่รับมอบหมาย สั่งงาน ติดตาม ความคุม และแก้ไข ปัญหาเบื้องต้น และรายงานผู้บังคับบัญชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • PDCA หรือที่เรียกว่าวงจรเดมิง (อังกฤษ: Deming Cycle) หรือวงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือวงจรการควบคุมคุณภาพ
    • การทำงานแบบ โฮ (HO) เรน (REN) โซ (SOU)การรายงาน-การติดต่อ-การปรึกษา
  • การประยุกต์กับการทำงานได้อย่างสัมฤทธิผลด้วย 5Q
  • ทัศนคติที่ดีในการทำงาน
  • Work Shop
    • ผ่านกิจกรรมกลุ่ม 4-5 กิจกรรม In house
    • ระดมสมอง และแชร์ความคิด

 

กรอบการฝึกอบรม : รู้คน รู้งาน รู้ความต้องการขององค์กร

หัวข้อ (Topics) ประเด็นสำคัญในการเรียนรู้ (Key Points)
ช่วงที่ 1 รู้คน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·         ละลายพฤติกรรม ทำความรู้จัก Open Mind

·         นำเข้าสู่เนื้อหาหลักสูตร

·         5Q คืออะไร

·         การพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย 5Q

·         รู้จักตนเองเพื่อเข้าใจผู้อื่นด้วย 5Q

·         ใครคือคนที่องค์กรต้องการ?

·         บทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน

·         ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการจัดการ

·         Work Shop เรียนรู้คน จากโมเดลสัตว์ 4 ทิศ

ช่วงที่ 2 : รู้งาน1

 

 

 

§  Work Shop 1 (การมองปัญหาด้วย 5Q)

§  ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการจัดการ

§  เรียนรู้วงจรเดมิง Deming Cycle/วงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือวงจรการควบคุมคุณภาพ ตอนที่ 1

ช่วงที่ 3: รู้งาน 2

 

 

 

 

 

 

 

 

Work Shop2 (การแก้ปัญหาด้วย 5Q)

§  เรียนรู้วงจรเดมิง Deming Cycle/วงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือวงจรการควบคุมคุณภาพ ตอนที่ 2

§  การทำงานแบบ โฮ (HO) เรน (REN) โซ (SOU)การรายงาน-การติดต่อ-การปรึกษา

o  การวางแผน

o  การมอบหมายสั่งงาน

o  การติดตามประเมินผล

o  การควบคุมและแก้ไขปัญหา

o  การรายงานผู้บังคับบัญชา

ช่วงที่ 4 : รู้ความต้องการขององค์กร  

 

 

 

·       รู้ความต้องการขององค์กร

·       สรุปประเด็นสำคัญและเข้าทำความเข้าใจการบริหารแบบ 5Q อย่างลึกซึ้ง

·       Q&A พร้อมแลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์จริงจากวิทยากร

สร้างคุณค่าการทำงานร่วมกัน Commitment อำลา

ความหลากหลายของกิจกรรม

– รู้จักตนเองเพื่อเข้าใจผู้อื่นด้วย 5Q

– ความแตกต่างของเจนเนอเรชัน (generations’ differences)

– เราเป็นค่าเฉลี่ยของคน 5 คน ที่เราใกล้ชิดมากที่สุด

– Work Shop 5Q ฝึกเล่าเรื่องตามคำสั่งและการแก้ปัญหา

– การพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย 5Q

– Work Shop เดาใจเพื่อนด้วยตัวเลข (สงครามตัวเลข)

– Clip VDO การเข้าใจตนเอง

– เรียนรู้การทำงานของสมอง

– “คิดด้วยสมอง…ทำด้วยใจ”

– การสื่อสารแบบปากต่อปาก (Work Shop ใบ้คำ)

– ความหมายที่แท้จริงของชีวิต

– คำพังเพยไทย (Work Shop สนุกคลายเครียด)

– WHO ARE YOU (Work Shop)

– แบบทดสอบสัตว์สี่ทิศและความหมายของ 5Q

– Dialogue (พูดคุยกันแบบสบาย ๆ ในกิจกรรมที่ผ่านมา)

– คนเราแตกต่างกันอย่างไร? และเราจะได้ประโยชน์จากความเข้าใจความแตกต่างนั้นได้อย่างไร?

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้เข้ารับการอบบรมได้ความรู้ความเข้าใจในหลักและวิธีการจัดการงานและคนอย่างมีประสิทธิภาพด้วยหลักการของ 5Q
  • ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้เทคนิคของ 5Q และเข้าใจถึงวิธีการสร้างแรงผลักดันให้ลูกน้องทำงานและมุ่งมั่นทำงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างสุนทรียะ
  • ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะการบริหารจัดการงานโดยสามารถวางแผนงานที่รับมอบหมาย สั่งงาน ติดตาม ความคุม และแก้ไข ปัญหาเบื้องต้น และรายงานผู้บังคับบัญชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • ผู้เข้ารับการสัมมนาสามารถสร้างสัมพันธภาพ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันด้วยความคิดเชิงบวกและความรู้สึกดีๆที่มีต่อกัน ทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข
office-227170__340

เทคนิคการเจรจาต่อรองขั้นเทพ (Excellent Negotiation)

หลักสูตร เทคนิคการเจรจาต่อรองขั้นเทพ  (Excellent Negotiation)

วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจและเกิดทัศนคติที่ถูกต้องต่อหลักการเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพ

2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดทักษะในการเจรจาต่อรองและสามารถประยุกต์ใช้ทักษะการเจรจาต่อรองได้อย่างมีประสิทธิผลทันทีหลังจบการฝึกอบรม

3.เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าอบรมด้วยกันและผู้เข้าอบรมกับวิทยากร

4.เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันซึ่งนำไปสู่ประโยชน์ที่จะได้รับ

5.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและทีมงานจะได้มีเทคนิค ในเรื่องการเจรจาต่อรอง

6.เพื่อสร้างหลักการเจรจาต่อรองผ่านกระบวนการจิตวิทยา และทฤษฎีเรื่องความต้องการของคน เพื่อให้เป็นข้อได้เปรียบทางธุรกิจ

 

ความหมาย

การเจรจาต่อรอง ( Negotiation) หมายถึง การใช้ความสามารถเกลี้ยกล่อมบุคคลที่เรามุ่งจะได้บางสิ่งบางอย่างจากเขา ให้ยอมให้บางสิ่งบางอย่างนั้นแก่เรามากที่สุด โดยความสมัครใจ

เทคนิคการเจรจาต่อรอง ถือได้ว่าเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่น่าสนใจมากในปัจจุบัน ซึ่งมหาวิทยาลัยบางแห่งถึงกับเปิดสอนวิชานี้ในหลักสูตรปริญญาโทเลย แต่แท้จริงแล้วกลับพบว่า คนที่จะเจรจาต่อรองให้สำเร็จได้ด้วยดีนั้น จะต้องมีทักษะการสื่อสารที่ดีมากมาก่อนถึงจะมีเทคนิคการเจรจาต่อรองได้เป็นอย่างดี และยังรวมไปถึงการเข้าใจผู้ที่เราจะเจรจาต่อรองด้วยว่า มีนิสัย ความชอบ มุมมอง ความเห็น ภูมิความรู้ และต่างๆอีกมากมาย ที่เราต้องทราบข้อมูลนี้ให้มากที่สุด เพื่อเป็นข้อมูลให้เราได้ศึกษาทำความเข้าใจ ดังนั้นหากท่านต้องการจะประสบความสำเร็จในการเจรจาต่อรอง ท่านต้องเรียนรู้และเข้าใจทักษะพื้นฐานของการสื่อสารและการอ่านคนให้ออกเสียก่อน

องค์ประกอบหลักๆ ที่สำคัญของการสื่อสารคือ ผู้ส่งสาร ตัวสาร ช่องทางการส่งสาร และผู้รับสาร การที่จะสื่อสารกันได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้ส่งสารจะต้องรู้ว่าผู้รับสารคือใคร เพื่อจะได้ปรับตัวสารให้เข้ากับผู้รับสารนั่นเอง ส่วนการอ่านคนให้ออกนั้นเราต้องมีเครื่องมือที่สามารถอ่านลักษณะพฤติกรรม ที่สะท้อนผ่านการแสดงออก ความเห็น การพูดคุยต่างๆ จะทำให้เราได้เปรียบเป็นอย่างมากและบรรลุผลในการเจรจาต่อรอง

หลักการ

การเจรจาต่อรอง มีหลักการที่สำคัญ 3 ประการคือ

  1. เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหลักการที่ต้องการ
  2. เสียผลประโยชน์ให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
  3. ทำให้อีกทุกฝ่ายรู้สึกพึงพอใจกับผลการเจรจา

 

หัวข้อการบรรยาย

  • เพราะอะไรการเจรจาต่อรองจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก
  • การเจรจาต่อรองที่หลากหลาย ที่มีหลายประเภท
  • วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการเจรจาต่อรอง
  • สิ่งที่ควรและไม่ควรสำหรับ การเจรจาต่อรอง
  • อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้นักเจรจาต่อรอง มีจุดอ่อน
  • องค์ประกอบต่างๆของ การเจรจาต่อรอง
  • การมีพลังผลักดันส่วนลึกของจิตใต้สำนึกให้กล้าที่จะเจรจาต่อรอง
  • วิเคราะห์เทคนิค การเจรจาต่อรอง ในรูปแบบต่าง ๆ
  • หลัก การเจรจาต่อรอง ในรูปแบบ M H Model
  • วิเคราะห์ขอบเขต การเจรจาต่อรอง แบบ ZOPA และ BATNA Model
  • วิธีการจัดการเมื่อมีข้อขัดแย้งและการแก้ไขสถานการณ์ที่ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้
  • การเตรียมตัว วางแผน ออกแบบ เพื่อการเจรจาต่อรอง
  • 3 หลักการที่จำเป็นที่ต้องนำมาใช้ใน การเจรจาต่อรอง
  • วิธีการสร้างอำนาจต่อรอง เพื่อสร้างความได้เปรียบใน การเจรจาต่อรอง
  • การบริหารข้อมูลที่จำเป็นและสำคัญ ที่จะสามารถดึงกลับมาใช้ใน การเจรจาต่อรอง
  • หาสาเหตุที่คนกลัว การเจรจาต่อรอง
  • สร้างกลไกและแนวทางการต่อรองแบบ Three Ws Model
  • ข้อหลีกเลี่ยงใน การเจรจาต่อรอง เพื่อให้อยู่ในสถานการณ์ที่ได้เปรียบ
  • กรณีศึกษา Workshop

 

ประโยชน์ที่ท่านจะได้รับจากการอบรม หลักสูตร การเจรจาต่อรอง

1.ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจและเกิดทัศนคติที่ถูกต้องต่อหลักการเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพ

2.ผู้เข้าอบรมเกิดทักษะในการเจรจาต่อรองและสามารถประยุกต์ใช้ทักษะการเจรจาต่อรองได้อย่างมีประสิทธิผลทันทีหลังจบการฝึกอบรม

3.ได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าอบรมด้วยกันและผู้เข้าอบรมกับวิทยากร

4.ได้เทคนิคสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันซึ่งนำไปสู่ประโยชน์ที่จะได้รับ

5.ได้เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและทีมงาน ด้วยเทคนิคการเจรจาต่อรองขั้นเทพ

6.ได้หลักการเจรจาต่อรองผ่านกระบวนการจิตวิทยา และทฤษฎีเรื่องความต้องการของคน เพื่อให้เป็นข้อได้เปรียบทางธุรกิจ

learn-1996846__340

7Q เพื่อความสำเร็จในการทำงาน (7Q for Success)

หลักสูตร : 7Q เพื่อความสำเร็จในการทำงาน (7Q for Success)

 

7Q คืออะไร?

การดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จตามที่ได้วางไว้ได้อย่างดี มีองค์ประกอบมากมายที่จะนำมาพิจารณาการทำงานให้บรรลุเป้าหมายและไปในทิศทางเดียวกันนั้นจะใช้ความรู้ความสามารถเพียงด้านเดียวคงจะไม่พอต่อการถึงจุดหมายปลายทาง การพัฒนาระดับความสามารถ (Quotient) ในด้านต่างๆ ของแต่ละบุคคลจึงเป็นประเด็นที่สำคัญที่จะทำให้คนประสบความสำเร็จในการใช้ชีวิต และส่งให้ชีวิตการทำงานดีขึ้นไปด้วย

การพัฒนาระดับความสามารถในด้านต่างๆ ที่สำคัญ (7Q) ของแต่ละบุคคลด้วยตัวเอง จึงเป็นแนวทางที่องค์กรส่วนใหญ่อยากให้เกิดขึ้นกับบุคลากรในองค์กรของตัวเอง โดยการทำให้บุคลากรมี 7Q ที่สูงขึ้น

 

IQ (Intelligent Quotient) : ทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างฉลาด

EQ (Emotional Quotient) : การจัดการอารมณ์เชิงลบของตัวเอง

AQ (Adversity Quotient ) : การเปลี่ยนอุปสรรคให้เป็นโอกาสที่ท้าทาย

OQ (Optimist Quotient) : การแสดงผลงานที่มีคุณค่า

UQ (Unity Quotient) : การเป็นบุคคลที่เข้ากับคนอื่นได้ง่าย

CQ (Creativity Quotient) : ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ

PQ (Physical Quotient) : มีความมั่นใจในการเคลื่อนไหวของร่างกาย

 

การประยุกต์ใช้แนวทางบริหารจัดการ Q (Quotient) ต่างๆ กับเป้าหมายในชีวิตหรืองานที่ได้รับ รวมถึงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ย่อมทำให้บุคคลสามารถพิชิตเป้าหมายของตัวเอง และมีความสัมพันธ์ที่มีต่อบุคคลรอบข้าง รวมถึงการเป็นบุคลากรที่มีจิตใจที่ดีขององค์กร จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน

การเรียนรู้และนำแนวทางไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างเข้าใจแนวทาง 7Q นั้น จะทำให้บุคลากรได้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่และเต็มกำลัง นั่นก็หมายความว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลที่ดีขึ้น จึงทำให้เกิดผลงานที่มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

โดยที่ Q แต่ละตัวจะสอดคล้องกันและทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยมีหลักของสมาธิเข้าไปเป็นพื้นฐานของสิ่งเหล่านี้จะทำให้เป็น 7Q แบบยั่งยืนแล้วเป็นต้นแบบเพื่อองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ได้นำไปปรับใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรตัวเอง

 

หลักสูตรฯ ให้สิ่งใดแก่ผู้เข้าอบรม

  1. สร้างมุมมองการอยู่ร่วมกันที่แตกต่างแต่ไม่แตกแยก โดยรู้จักตนเองและเข้าใจผู้อื่น สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด เพิ่มประสิทธิผลของการสื่อสาร และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตนเองกับผู้อื่นได้อย่างลงตัว สามารถประยุกต์ใช้ 7Q กับการทำงานเพื่อการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น
  2. เกิดการเรียนรู้กระบวนการของ 7Q และนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีรูปแบบและเห็นผล มีมุมมองปัญหาและอุปสรรคของงานที่เจออยู่ด้วยมุมมองใหม่ๆ สามารถนำวิธีการของตนเองมาใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นอัตโนมัติ
  3. ได้ปรับบุคลิกภาพให้เข้ากับผู้อื่นอย่างเหมาะสม
  4. เข้าใจการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
  5. ได้จุดร่วม และสงวนจุดต่างของการอยู่ร่วมกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข และบรรลุเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน
  6. ค้นพบ “ตัวตน” ที่แท้จริงของตนเอง สามารถนำพาตนเองและองค์กรที่มีความหลากหลายไปสู่จุดหมายที่ตั้งไว้ รวมถึงประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจําวันและการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  7. เข้าใจหลักของ 7Q ผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้
  • สนุกกับการใช้ IQ (Intelligence Quotient) แก้ปัญหาต่างๆ
  • พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ EQ (Emotional Quotient)
  • ก้าวข้ามอุปสรรค AQ (Adversity Quotient) อย่างกล้าหาญ
  • แสดงผลงานอย่างมีคุณค่าด้วยความเป็นเจ้าของ OQ (Optimist Quotient)
  • พัฒนาตนเองเพื่ออยู่ร่วมกับสังคม UQ (Unity Quotient)  อย่างมีความสุข
  • มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ด้วย CQ (Creativity Quotient)
  • มีความมั่นใจในการเคลื่อนไหวของร่างกาย ด้วย PQ (Physical Quotient)
  1. ได้ทดลองปฏิบัติผ่าน Workshop: กำหนดแนวทางพัฒนา 7Q ของตนเอง

 

 ลักษณะของการอบรม

เป็นการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการ ผ่าน Work Shop และกิจกรรมต่างๆ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า 7Q (IQ EQ OQ AQ UQ CQ PQ) และ OD ที่หลากหลายประเภทผสมผสานกัน เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาทางวิชาการให้เข้าใจได้ง่าย สามารถนำไปปรับใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีการ

  1. บรรยายเนื้อหาวิชาการประกอบการทำ Work Shop และกิจกรรมกลุ่ม ในอัตราส่วน เนื้อหาวิชาการ 70 : Work Shop กิจกรรม 30
  2. การใช้เครื่องมือทางด้าน 7Q และ OD tools และเทคนิคการฝึกอบรมหลายประเภท เช่น
  • Ai (Appreciative Inquiry)
  • Dialogue สุนทรียะสนทนา
  • เกมพฤติกรรม
  • Work Shop
  • การระดมความคิดด้วย 7Q
  • Clip VDO และอื่นๆ


หัวข้อสำคัญในการเรียนรู้

  • หลักและวิธีการจัดการงานและคนอย่างมีประสิทธิภาพด้วย 7Q
    • ใครคือคนที่องค์กรต้องการ
    • บทบาทหน้าที่ของตัวเอง
    • ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการจัดการ
    • เรียนรู้คน จากโมเดลผู้นำ 4 ทิศ
  • การสร้างแรงผลักดันให้ลูกน้องทำงานและมุ่งมั่นทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
    • ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ ในการทำงาน
  • การประยุกต์กับการทำงานได้อย่างสัมฤทธิผลด้วย 7Q
  • ทัศนคติที่ดีในการทำงาน
  • Work Shop
    • ผ่านกิจกรรมกลุ่ม 4-5 กิจกรรม In house
    • ระดมสมอง และแชร์ความคิด

 

ความหลากหลายของกิจกรรม

– รู้จักตนเองเพื่อเข้าใจผู้อื่นด้วย 7Q

– ความแตกต่างของเจนเนอเรชัน (generations’ differences)

– เราเป็นค่าเฉลี่ยของคน 5 คน ที่เราใกล้ชิดมากที่สุด

– Work Shop 7Q ฝึกเล่าเรื่องตามคำสั่งและการแก้ปัญหา

– การพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย 7Q

– Work Shop เดาใจเพื่อนด้วยตัวเลข (สงครามตัวเลข)

– Clip VDO การเข้าใจตนเอง

– เรียนรู้การทำงานของสมอง

– คิดด้วยสมอง…ทำด้วยใจ

– การสื่อสารแบบปากต่อปาก (Work Shop ใบ้คำ)

– ความหมายที่แท้จริงของชีวิต

– คำพังเพยไทย (Work Shop สนุกคลายเครียด)

– WHO ARE YOU (Work Shop)

– แบบทดสอบสัตว์สี่ทิศและความหมายของ 7Q

– Dialogue (พูดคุยกันแบบสบาย ๆ ในกิจกรรมที่ผ่านมา)

– คนเราแตกต่างกันอย่างไร? และเราจะได้ประโยชน์จากความเข้าใจความแตกต่างนั้นได้อย่างไร?

 

 

 ใครควรเข้าร่วม?

  1. บุคคลทั่วไปที่ต้องการเข้าใจตัวตนที่แท้จริงของตนเอง และผู้อื่น
  2. บุคคลทั่วไปที่ต้องการเตรียมพร้อมสู่การเป็นหัวหน้างาน
  3. ผู้บริหาร หัวหน้างาน ระดับปฏิบัติงาน ที่ต้องการพัฒนาตนเอง

 

รูปแบบหลักสูตร

  1. การบรรยาย 30 %
  2. เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop 70%

 

ผลสัมฤทธิ์ที่จะได้ (Outcomes)

         บุคคล

  • เรียนรู้ เข้าใจธรรมชาติและพื้นฐานของตนเอง และผู้อื่นด้วย 7Q
  • เข้าใจตนเองและผู้อื่นด้วยแบบทดสอบสัตว์สี่ทิศและ 7Q
  • สามารถใช้ 7Q เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
  • เข้าใจวิธีลดความตึงเครียดในการทำงานร่วมกันด้วย 7Q
  • สามารถนำความรู้เรื่อง 7Q ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข

 

ครอบครัว

  • ได้ผู้นำครอบครัวและสมาชิกของครอบครัวที่เข้าใจธรรมชาติและพื้นฐานของตนเองและคนในครอบครัวด้วย 7Q
  • จุดประกายความเข้าใจภายในครอบครัว เปิดใจ เอื้ออาทร ห่วงใยดูแลและรับฟังกันมากขึ้นเพราะมี 7Q
  • สมาชิกในครอบครัวรู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเองอย่างเอื้ออาทรกันและกัน
  • สมาชิกในครอบครัวมีความรัก ความเข้าใจ
  • ประชาธิปไตยและเสรีภาพบนความรับผิดชอบร่วมกันเริ่มต้นที่ในบ้าน

 

องค์กร

  • ได้พนักงานที่มีทัศนคติเชิงบวกในการทำงาน
  • พนักงานมีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
  • นโยบายขององค์กรถูกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติได้เร็วขึ้น
  • ได้รับการยอมรับในเรื่ององค์กรยุคใหม่ใส่ใจในทุกๆ ด้านของผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรทั้งหมด (ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา ลูกค้าเรา และสิ่งแวดล้อมที่องค์กรเราอยู่ร่วมด้วย)
  • ผลกำไรที่ยั่งยืน ส่งผลทำให้ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา ลูกค้าเรา และสิ่งแวดล้อมที่องค์กรเราอยู่ร่วมด้วย อยู่กันอย่างเกื้อกูล
  • เป็นองค์กรที่มีความสำเร็จและความสุข
hand-895588__340

การตลาดสำหรับศตวรรษที่ 21 (Marketing for the 21st Century)

หลักสูตร การตลาดสำหรับศตวรรษที่ 21 (Marketing for the 21st Century)

 หลักการและเหตุผล :    

การตลาดพบได้ทุกหนทุกแห่งทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ คนทั่วไปและองค์กรต่างๆ ล้วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เรียกว่าการตลาด การตลาดที่วางแผนเป็นอย่างดีมีส่วนช่วยส่งเสริมความสำเร็จของภาคธุรกิจ

การตลาดในศตวรรษที่ 21 ต้องวางแผนกันแบบวันต่อวัน (Day-to-day lives) ดังนั้นการตลาดที่ดีไม่ใช่เรื่องบังเอิญแต่เป็นผลที่เกิดจากการวางแผนและปฏิบัติการด้วยความรอบคอบ ทุกๆอุตสาหกรรมได้พยายามปรับเปลี่ยนและปฏิวัติการตลาดจากภาคทฤษฎีเป็นรูปธรรมเพื่อรักษาโอกาสแห่งความสำเร็จ แต่ทว่าในความเป็นจริงการตลาดที่ดีที่สุดกลับเป็นสิ่งหายากและยากจะสำเร็จได้ในเชิงปฏิบัติ

ทั้งนี้เพราะการตลาดเป็นเรื่องของ “ศาสตร์” และ “ศิลป” ที่ผสมผสานระหว่างการตลาดภาคทฤษฎีกับความคิดสร้างสรรค์แปลกใหม่

แนวคิดทางการตลาดไม่ได้กำหนดด้วยคำตอบที่ถูกหรือผิดแต่ถูกกำหนดด้วยผลที่เกิดขึ้น แนวคิดใหม่ที่สร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เหนือกว่า รวดเร็วกว่าและแบ่งปันได้มากกว่าในระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม

ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่สำคัญต่อองค์ความรู้ใหม่ทางการตลาด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในตลาดโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจากการเปลี่ยนแปลงของประชากรศาสตร์หรือเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตลาดสมัยใหม่

เราจึงควรตามให้ทันและเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างถ่องแท้

 

วัตถุประสงค์การบรรยาย

  1. เห็นถึงความสำคัญของการตลาด
  2. เข้าใจขอบเขตของการตลาด
  3. เรียนรู้แนวคิดการตลาด
  4. เข้าใจรูปแบบการจัดการการตลาดที่เปลี่ยนแปลง
  5. การบูรณาการกรอบแนวคิดทางการตลาด
  6. มองประเด็นสำคัญในปัจจุบันทางการตลาดให้ออก

 

 

 

 หัวข้อการอบรม

ภาพรวมของการคิด

หัวข้อการบรรยาย MDI : Market Driven Innovation สร้างตลาดให้ขับเคลื่อนนวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ

 

1.ทัศนคติคนไทยกับการเริ่มสร้างธุรกิจที่บิดเบี้ยว กับหลุมพรางทางความคิดที่ต้องกำจัดก่อนเริ่มธุรกิจ

2.ทำความเข้าใจกลไกตลาด ผ่านการตลาดเชิงคุณค่า และ การตลาดเชิงราคา

3.เหตุใดเราจึงต้องคิดใหม่เกี่ยวกับการขาย และ การตลาด

4.กรณีศึกษากลยุทธ์การตลาด ธุรกิจไซส์ยักษ์

5.สร้างแผนธุรกิจ วางแผนการขาย กำหนดทิศทางตลาดแบบ Steve Jobs

6.Self Analysis วิเคราะห์ธุรกิจเพื่ออุดรูรั่วก่อนออกรบ

7.รู้จัก Marketing 3.0 การขับเคลื่อนธุรกิจด้วย จิตวิญญาณ เนื้อแท้ของ Marketing 4.0

8.Innovation คืออะไร

9.แนวคิดในการกำหนดกลยุทธ์กลุ่มเป้าหมายและออกแบบผลิตภัณฑ์

10.การสื่อสารการตลาดด้วย IMC 4.0

11.แนวคิดการสร้างแผนการทำงานที่ดี และ การออกแบบแผนการทำงาน

12.Workshop การออกแบบแผนการขายและการตลาด ภายใต้โจทย์ สร้างธุรกิจจากศูนย์ถึงร้อยล้านใน 5 ปี

 

รายละเอียดของการอบรม

1.ทำความเข้าใจ การจัดทำแผนการขายและการตลาด

– ประโยชน์ของการจัดทำแผนการขายและการตลาด

– ความแตกต่างระหว่าง แผนการขายและการตลาด

2.กรณีศึกษาแผนการขายและการตลาดที่ประสบความสำเร็จ

– Coke VS PEPSI มหากาพย์ ศึกน้ำดำ แข่งกันตี แข่งกันโต เติบโตแซงตลาดน้ำสี

– PEPSI VS EST ศึกแห่งศักดิ์ศรี เกมส์นี้ใครได้ใครเสีย

– โตโยต้าดีเยี่ยม น้องใหม่มาแรงแซงทุกดีลเลอร์

– พฤษา VS แสนศิริ ยุทธศาสตร์ที่แตกต่าง ความสำเร็จที่รอการพิสูจน์

– คลิป VDO

3.กำหนดแผนในการจัดทำแผนการขายและการตลาด

– กระบวนการในการจัดทำแผนการขายและการตลาด

– ภาพรวมขั้นตอนในการจัดทำแผนธุรกิจ

 

4.แผนที่ดีเริ่มจากการวิเคราะห์ที่ดี

– วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ขององค์กร (SWOT Analysis)

– วิเคราะห์ปัจจัยภายในด้วย 7S Mckinsey Frame Work

– วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกด้วย Five Force Model

 

  1. กำหนดตลาดเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

– บริษัททำอะไร ขายอะไร ขายใคร ขายที่ไหน ขายอย่างไร (7 O’s หรือ 6W 1H)

– กำหนดตลาดเป้าหมาย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย จาก STP Model

 

  1. การกำหนดกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์

– หลักการสร้างความต้องการใช้สินค้า ใช้สินค้าซ้ำ บอกต่อและเป็นลูกค้าประจำด้วย Model 4P+4C+4E

– กรณีศึกษากลยุทธ์จากผู้ประสบความสำเร็จ Apple Computer /Walmart Supermaket/CP All/ครอบครัวข่าว3

 

  1. กลยุทธ์การวางแผนสื่อสารทางการตลาดที่สำฤทธิ์ผล

– หลักการสื่อสารทางการตลาด Integrated Marketing Communication (IMC)

– การวางแผนสื่อสารทางการตลาด

– ภายใต้งบประมาณจำกัดกับเครื่องมือที่สำฤทธิ์ผล

– การใช้ Below the line ในยุค Marketing 4.0

 

  1. การจัดทำแผนงานและตาราง Action Plan

– ลักษณะของแผนที่ดี

 

  1. กิจกรรม “ Expertise & Q/A”

 

 

 

รูปแบบหลักสูตร

1.การบรรยาย                                                                       50 %

2.กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop  ทางการตลาด   50%

Root Cause Analysis

การวิเคราะห์หาต้นตอของปัญหา (RCA : Root Cause Analysis)

หลักสูตร การวิเคราะห์หาต้นตอของปัญหา (RCA : Root Cause Analysis)

Root Cause Analysis

 

หลักสูตร การวิเคราะห์หาต้นตอของปัญหา (RCA : Root Cause Analysis)

หลักการและเหตุผล/วัตถุประสงค์

เราจำเป็นต้องมีวิธีการในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง(สาเหตุรากเหง้า)      ขุดค้นหาปัญหาซ่อนเร้น และแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางสถิติ หรือการควบคุมคุณภาพซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะสร้างองค์กรให้ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้

การดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน เป็นการแข่งขันในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้สามารถได้กำไรในการผลิตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งง่ายกว่าการขึ้นราคาสินค้ามาก การปรับปรุงขบวนการผลิต โดยใช้เครื่องมือที่ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการปฏิบัติงาน อย่างเป็นระบบนั้นถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและประสบผลสำเร็จ

การใช้เครื่องมือในการแก้ไขปัญหาการทำงานได้อย่างเป็นระบบ จะทำให้เห็นผลได้อย่างแน่นอน อีกทั้งยังมีการรวบรวมเครื่องมือที่ใช้แก้ไขปัญหากับพนักงานในระดับปฏิบัติการ รวมไปถึงฝึกการรวมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อช่วยกันระดมสมอง ยังช่วยในการแก้ไขปัญหาประจำวันได้เป็นอย่างดี

การวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้านั้น ผู้เข้ารับการอบรมจะได้แนวคิดที่เป็นเหตุเป็นผล งานทุกงานเป็นกระบวนการถ้ากระบวนการ (เหตุ) ดี ผลลัพธ์ หรือ ปัญหา (ผล) ย่อมดีเช่นกัน จะได้รู้จักการกำหนดปัญหาโดยการใช้ Check sheet, Pareto diagram เทคนิคในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง (สาเหตุรากเหง้า)โดยการใช้เครื่องมือ Cause and Effect Analysis (CE analysis), Why – Why analysis ในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการทดสอบสาเหตุของปัญหา เป็นการป้องกันและสกัดสิ่งบกพร่องไม่ให้หลุดไปยังกระบวนการถัดไป และแก้ไขการสูญเสียความน่าเชื่อถือ มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาเดิม

 

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงความหมายและวิธีการของการแก้ปัญหาและการแก้ปัญหาในอนาคต
  2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำเทคนิคการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
  3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำนโยบายหรือภาระที่ได้รับมอบหมายไปใช้ในการปรับปรุงหรือดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิผล
  4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีมด้วยการฝึกปฏิบัติการ
  5. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจถึงความสำคัญของการกำหนดปัญหาและเจาะจงปัญหา
  6. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และสามารถในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง (สาเหตุรากเหง้า)ได้อย่างเป็นระบบ
  7. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการใช้เครื่องและเทคนิคในการกำหนดปัญหา การสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง และการทดสอบสาเหตุของปัญหา
  8. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมรู้จักคิดในเชิงเหตุ และผล การคิดในเชิงระบบ อันเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาในเชิงป้องกัน และการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

หัวข้อการอบรม

1.แนวคิดการจัดการกระบวนการและการคิดอย่างเป็นระบบ

2.ทำความเข้าใจในเรื่องของปัญหา และสาเหตุรากเหง้า

3.การกำหนดปัญหา และเจาะจงปัญหาโดยการใช้ Check sheet และ Pareto

4.การค้นหาสาเหตุเบื้องต้นด้วยวิธีการ Change Point Management

5.การระดมสมอง

6.เครื่องมือการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้า (Root Cause Analysis: RCA) ของปัญหา

  • Cause and Effect Analysis (CE analysis)
  • Why-Why
  • A3 Problem Solving Process Analysis

7.หลักการของ PDCA

– ความหมายของ PDCA

– การวิเคราะห์ต้นตอสาเหตุกับการทำงานของวงจร PDCA

8.การทดสอบสาเหตุของปัญหา

– นำปัญหาเข้าสู่การทดสอบ

– หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา

– แก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง วิธีและขั้นตอนในการแก้ปัญหา

  • Histogram
  • แผนภาพการกระจาย

9.ขั้นตอนการทำ Root Cause Analysis อย่างง่าย 6 ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ 1:     จัดตั้งทีม

ขั้นตอนที่ 2:     ระบุปัญหา

ขั้นตอนที่ 3:     ศึกษาปัญหา

ขั้นตอนที่ 4:     วิเคราะห์หาสาเหตุที่เป็นไปได้

ขั้นตอนที่ 5:      วิเคราะห์หาสาเหตุราก (root cause)

ขั้นตอนที่ 6:     กำหนดแผนเพื่อป้องกันเหตุการณ์เกิดซ้ำ หรือแผนพัฒนา

10.การตัดสินใจบนพื้นฐานที่แท้จริง (Management by Fact)

11.การกำหนดมาตรการแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดซ้ำแบบถาวร (Permanent Corrective Action)

12. สรุป / ถาม-ตอบ

 

ประโยชน์ที่จะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมได้ทราบถึงความหมายและวิธีการของการแก้ปัญหาและการแก้ปัญหาในอนาคต
  2. ผู้เข้าอบรมสามารถนำเทคนิคการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง
  3. ผู้เข้าอบรมสามารถนำนโยบายหรือภาระที่ได้รับมอบหมายไปใช้ในการปรับปรุงหรือดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิผล
  4. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีมด้วยการฝึกปฏิบัติการ
  5. ผู้เข้าอบรมเข้าใจถึงความสำคัญของการกำหนดปัญหาและเจาะจงปัญหา
  6. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และสามารถในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง (สาเหตุรากเหง้า)ได้อย่างเป็นระบบ
  7. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการใช้เครื่องและเทคนิคในการกำหนดปัญหา การสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริง และการทดสอบสาเหตุของปัญหา
  8. ผู้เข้าอบรมรู้จักคิดในเชิงเหตุ และผล การคิดในเชิงระบบ อันเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาในเชิงป้องกัน และการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

 

รูปแบบหลักสูตร

1.การบรรยาย                                                      30 %

2.เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop    70%

 

 

 

 

multitasking-1733890__340

การคิดเชิงวิเคราะห์และความคิดเชิงสังเคราะห์ (Analysis & Synthesis Thinking)

 หลักสูตรการคิดเชิงวิเคราะห์และความคิดเชิงสังเคราะห์

(Analysis & Synthesis Thinking)development-2010016__340

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.ช่วยให้องค์กรพัฒนาระบบการวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหาแบบมืออาชีพ

2.ฝึกอบรมการใช้เครื่องมืออันทันสมัยเพื่อช่วยให้การคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดเชิงสังเคราะห์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.ปูพื้นฐานการปรับปรุงพัฒนาองค์กรทั้งด้านคุณภาพและการบริการอย่างยั่งยืน ด้วยหลักของการคิดเชิงวิเคราะห์และ    การคิดเชิงสังเคราะห์

4.เรียนรู้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดเชิงสังเคราะห์

5.เรียนรู้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยการคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดเชิงสังเคราะห์เพื่อไม่ด่วนสรุปสาเหตุของปัญหา

6.แยกแยะและจัดลำดับความสำคัญของงานและนำหลักการคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดเชิงสังเคราะห์ ไปประยุกต์ใช้กับงานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน

 

Module 1 :  ความหมายของการคิดเชิงสังเคราะห์

ความหมายที่แท้จริงการคิดเชิงสังเคราะห์
– การคิดเชิงสังเคราะห์จะเกิดขึ้นเมื่อใด
– การคิดสังเคราะห์เชิงวิพากษ์
– การคิดสังเคราะห์เชิงสร้างสรรค์

productivity-1995786__340

Module 2  : ก่อนที่จะเกิดการคิดเชิงสังเคราะห์ 

การคิดเชิงวิเคราะห์
– ความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์ ตลอดจนทัศนะคติในเรื่องที่จะวิเคราะห์นั้นๆ 40% รวมเรียกว่าศาสตร์
– ศิลปะการใช้ภาษา การสื่อสาร การถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจมุมมอง 40% รวมเรียกว่าศิลป์
– สัญชาติญาณและความกล้าหาญอีก 20% เรียกว่าพรสวรรค์

multitasking-1733890__340

Module 3 : รูปแบบของการคิดเชิงสังเคราะห์

การคิดเชิงสังเคราะห์ สามารถแบ่งรูปแบบการคิดได้เป็น 2 ลักษณะ
1. การคิดเชิงสังเคราะห์เพื่อการสร้าง “สิ่งใหม่” ซึ่งเป็นการประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่างๆ ตามต้องการของเรา
2. การคิดเชิงสังเคราะห์เพื่อการสร้าง “แนวคิดใหม่” อันเป็นการพัฒนาและคิดค้นแนวความคิดใหม่ๆ ในประเด็นต่างๆ ตามที่ตั้งวัตถุประสงค์เอาไว้

organization-chart-1989202__340

Module 4 : คิดสังเคราะห์เพื่อสร้างสรรค์

– กระบวนการคิด 7 ขั้นตอน เพื่อได้มาซึ่งการคิดสังเคราะห์แบบสร้างสรรค์
– ภาพรวมของการคิด
– กระบวนการคิด (Thinking Process)
– ความคิดเชิงบวก (Positive Thinking)
– ความคิดริเริ่ม (Initiative Thinking)
– ความคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking or Think out of the box)
– ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
– การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)

science-1182713__340
– พัฒนาทักษะการทำงาน
ทำงานยากให้เป็นงานง่าย
สร้างแรงบันดาลใจ ในการทำงาน

– พัฒนาทักษะชีวิต
– เสริมสร้างมุมมองเพื่อการเปลี่ยนแปลง

education-548105__340

– วิธีผ่อนคลายความเครียดในที่ทำงาน
· ผ่อนคลายสรีระ
· ผ่อนคลายอารมณ์
· ผ่อนคลายการกระทำ

learn-2004905__340

– Q&A พร้อมแลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์จริงจากวิทยากรสร้างคุณค่าการทำงานร่วมกัน

question-mark-1722865__340

problem-98377__340

เทคนิคการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา (Problem Solving & Decision Making)

หลักสูตร : เทคนิคการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา (Problem Solving & Decision Making)

 

         ปัญหาที่สำคัญประการหนึ่งที่องค์กรต่างๆทุกประเภทธุรกิจกำลังเผชิญอยู่อย่างเข้มข้นในปัจจุบัน คือ ปัญหาในด้านทักษะความสามารถของบุคลากรในระดับต่างๆที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ ซึ่งเป็นทักษะที่มีความสำคัญยิ่งต่อการดำเนินธุรกิจและเป็นทักษะที่มีอิทธิพลต่อความอยู่รอดและการเติบโตขององค์กร

problem-98377__340

             อาการหนึ่งที่แสดงให้เห็นเชิงประจักษ์ถึงปัญหาการขาดทักษะความสามารถในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจซึ่งสังเกตได้ชัด คือ ความกลัวปัญหาของบุคลากร จนทำให้บุคลากรไม่มีความสนใจหรือความกล้าที่จะนำเสนอแนวคิดหรือวิธีการใหม่ๆหรือสิ่งใหม่ๆที่แตกต่างไปจากเดิม เนื่องจากหวั่นเกรงว่าจะนำไปสู่ปัญหา อุปสรรคและความยากลำบากในการปฏิบัติงาน ซึ่งทำให้องค์กรพลาดโอกาสใหม่ๆที่อาจจะนำไปสู่การเติบโตอย่างก้าวกระโดดขององค์กรไปอย่างน่าเสียดายยิ่ง

away-1020086__340

     เพราะฉะนั้นเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาทักษะ ให้ผู้เข้ารับการอบรม ได้เรียนรู้กระบวนการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ รู้จักเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจและแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ มีการเตรียมการสำหรับสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตหลังจากที่ได้ทำการ ตัดสินใจไปแล้ว จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีทักษะการตัดสินใจที่ดีเยี่ยมและเฉียบขาด

away-1020435__340

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.ช่วยให้องค์กรพัฒนาระบบการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาแบบมืออาชีพ

2.ฝึกอบรมการใช้เครื่องมืออันทันสมัยเพื่อช่วยยกระดับการตัดสินใจให้ดียิ่งขึ้น

3.ปูพื้นฐานการปรับปรุงพัฒนาองค์กรทั้งด้านคุณภาพและการบริการอย่างยั่งยืน

4.เรียนรู้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการหาสาเหตุของปัญหาในระยะสั้น

5.เรียนรู้วิธีการจัดการปัญหาเพื่อไม่ด่วนสรุปสาเหตุของปัญหา

6.แยกแยะและจัดลำดับความสำคัญของงาน      

 direction-1014005__340

 

หัวข้อการอบรม

  Module 1: Discovery

  • ปัญหาคืออะไร และ อะไรคือปัญหาขององค์กรในปัจจุบัน

  • การจัดหมวดหมู่ของปัญหาตามกฎ 20/80 ของพาเรโต้

  • อธิบายปัญหาอย่างชัดเจน ว่าเป็นอย่างไร รวมทั้งกรณีศึกษาและ workshop เพื่อให้เข้าใจปัญหาจากประสบการณ์จริง

question-mark-1722865__340

 

Module 2: Dream

  • นำปัญหาที่เกิดขึ้นมาจัดลำดับผลกระทบที่ได้รับ เพื่อหาทางออกของปัญหาหรือกำหนดเป็นสิ่งที่เราอยากจะให้ปัญหานี้หายไปในอนาคต ด้วยกระบวนทัศน์และเสริมสร้างทักษะวิธีการคิดแบบระบบ (System Thinking) ซึ่งเป็นวิธีการคิดรากฐานที่สำคัญในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจทางธุรกิจที่ซับซ้อนวิเคราะห์มิติของการเปลี่ยนแปลง

  • กรณีศึกษาและ workshop เพื่อฝึกวางแผนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร เช่นจากตนเอง ทีมงาน และองค์กร จากสิ่งที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์จริง

    options-73332__340

Module 3: Design

  • การเขียนสาเหตุและรากเหง้าของปัญหา…ใช้อะไรดี

  • การแก้ไขปัญหาอย่างขุดรากถอนโคนไม่ให้เกิดอีกต่อไป…ทำอย่างไร

  • การป้องกันการเกิดซ้ำอย่างเป็นระบบ…ทำอย่างไร

  • การวัดผลลัพธ์การแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ…วัดอย่างไร

  • การประยุกต์ทำบทเรียนแห่งการเรียนรู้จากปัญหาให้เป็นปัญหาขององค์กร…ทำง่ายๆได้อย่างไร

    pen-spinning-976930__340

Module 4: Destiny

  • ร่วมมือกันลงมือทำในการแก้ปัญหา

  • ปัญหาที่กำลังจะแก้ ใคร ส่วนงานไหนเข้าใจและรู้ลึกที่สุด

  • กำหนดคนแก้ไข หรือส่วนงานที่ต้องรับผิดชอบ เพราะการแก้ปัญหาแบบเน้นการมีส่วนร่วม

option-1010899__340

ภาพรวมของการคิดที่ใช้รับมือกับการตัดสินใจและการแก้ปัญหา

  • กระบวนการคิด (Thinking Process)

  • ความคิดเชิงบวก (Positive Thinking)

  • ความคิดริเริ่ม (Initiative Thinking)

  • ความคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking or Think out of the box)

  • ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

  • การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)

    education-548105__340

กิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึกฝนการระดมสมอง (Brain Storming) ให้ได้มาซึ่งความคิดดีๆ

เทคนิคในการให้ได้มาซึ่งความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ เช่น

  • หลักการคิดด้วยมิติ 4 ย. (โยง,ใหญ่,แยก,ย่อย)

  • การดักจับความคิด (Idea spotting)

  • กระบวนการจัดลำดับความคิด

  • เทคนิค “สมมุติว่าถ้ามันเป็นอย่างนั้น…ถ้ามันเป็นอย่างนี้…แล้วจะทำอย่างไร”

  • เทคนิค “ไม่พอใจกับสิ่งที่มีอยู่…หรือสิ่งที่เป็นอยู่”

  • เทคนิค “ตรงกันข้าม”

  • เทคนิค “Mind Map”

development-2010016__340

 

รูปแบบหลักสูตร

1.การบรรยาย                                                         40 %

2.เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop    60%

man-879094__180

การเพิ่มผลผลิตในตนเอง ด้วย 5Q (Personal Productivity with 5Q)

หลักสูตร การเพิ่มผลผลิตในตนเอง ด้วย 5Q
(Personal Productivity with 5Q)

 productivity-1995786__340

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติให้รู้จัก และเข้าใจตนเอง สามารถประเมินจุดเด่น จุดด้อย และ
กำหนดแนวทางให้การพัฒนาตนเองได้
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้การพัฒนาศักยภาพของตนเองผ่านเครื่องมือ และวิธีการต่างๆ อย่าง
เป็นระบบ
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถบริหารจัดการ และวางแผนตนเองให้มุ่งสู่ความสำเร็จอย่างมีแบบแผน
5Q คืออะไร?
การดำเนินชีวิตให้ประสบความสำเร็จตามที่ได้วางไว้ได้อย่างดี มีองค์ประกอบมากมายที่จะนำมาพิจารณาการทำงานให้บรรลุเป้าหมายและไปในทิศทางเดียวกันนั้นจะใช้ความรู้ความสามารถเพียงด้านเดียวคงจะไม่พอต่อการถึงจุดหมายปลายทาง การพัฒนาระดับความสามารถ (Quotient) ในด้านต่างๆ ของแต่ละบุคคลจึงเป็นประเด็นที่สำคัญที่จะทำให้คนประสบความสำเร็จในการใช้ชีวิต และส่งให้ชีวิตการทำงานดีขึ้นไปด้วย
การพัฒนาระดับความสามารถในด้านต่างๆ ที่สำคัญ (5Q) ของแต่ละบุคคลด้วยตัวเอง จึงเป็นแนวทางที่องค์กรส่วนใหญ่อยากให้เกิดขึ้นกับบุคลากรในองค์กรของตัวเอง โดยการทำให้บุคลากรมี 5Q ที่สูงขึ้น

development-2010016__340

IQ : ทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างฉลาด
EQ : การจัดการอารมณ์เชิงลบของตัวเอง
AQ : การเปลี่ยนอุปสรรคให้เป็นโอกาสที่ท้าทาย
OQ : การแสดงผลงานที่มีคุณค่า
UQ : การเป็นบุคคลที่มีจริยธรรมอันดี

         การประยุกต์ใช้แนวทางบริหารจัดการ Q (Quotient) ต่างๆ กับเป้าหมายในชีวิตหรืองานที่ได้รับ รวมถึงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ย่อมทำให้บุคคลสามารถพิชิตเป้าหมายของตัวเอง และมีความสัมพันธ์ที่มีต่อบุคคลรอบข้าง รวมถึงการเป็นบุคลากรที่มีจิตใจที่ดีขององค์กร จะทำให้องค์กรประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน
         การเรียนรู้และนำแนวทางไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัวเองอย่างเข้าใจแนวทาง 5Q นั้น จะทำให้บุคลากรได้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่แล้วอย่างเต็มที่และเต็มกำลัง นั่นก็หมายความว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลที่ดีขึ้น จึงทำให้เกิดผลงานที่มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
โดยที่ Q แต่ละตัวจะสอดคล้องกันและทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยมีหลักของสมาธิเข้าไปเป็นพื้นฐานของสิ่งเหล่านี้จะทำให้เป็น 5Q แบบยั่งยืนแล้วเป็นต้นแบบเพื่อองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ได้นำไปปรับใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรตัวเอง

training-1848687__340

หลักสูตรฯ ให้สิ่งใดแก่ผู้เข้าอบรม
1. สร้างมุมมองการอยู่ร่วมกันที่แตกต่างแต่ไม่แตกแยก โดยรู้จักตนเองและเข้าใจผู้อื่น สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด เพิ่มประสิทธิผลของการสื่อสาร และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตนเองกับผู้อื่นได้อย่างลงตัว สามารถประยุกต์ใช้ 5Q กับการทำงานเพื่อการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. ได้แนวคิดการเพิ่มผลผลิต (Productivity Concept) จากจุดเริ่มต้นที่ตัวเอง
3. ได้กรอบแนวคิดและแนวทางในการเพิ่มผลผลิตตนเอง (Personal Productivity)
4. เกิดการเรียนรู้กระบวนการของ 5Q และนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีรูปแบบและเห็นผล มีมุมมองปัญหาและอุปสรรคของงานที่เจออยู่ด้วยมุมมองใหม่ๆ สามารถนำวิธีการของตนเองมาใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นอัตโนมัติ
5. ได้ปรับบุคลิกภาพให้เข้ากับผู้อื่นอย่างเหมาะสมพร้อมทั้ง ริเริ่มตนเป็น รู้จักการกำหนดเป้าหมายตนเองการประเมินสถานการณ์ และการสร้างแรงบันดาล ใจให้ตนเอง (Self Initiation)
6. เข้าใจแนวคิดการเพิ่มผลผลิตตนเอง (Personal Productivity)อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมองเห็นโอกาสตนถูกการกระตุ้นจูงใจ(Self Motivation)และการบริหารเวลา (Time Management)
7. ได้จุดร่วม และสงวนจุดต่างของการอยู่ร่วมกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข และบรรลุเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน
8. ค้นพบ “ตัวตน” ที่แท้จริงของตนเอง สามารถนำพาตนเองและองค์กรที่มีความหลากหลายไปสู่จุดหมายที่ตั้งไว้ รวมถึงประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจําวันกับแนวคิดการเพิ่มผลผลิตตนเอง (Personal Productivity)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
9. เข้าใจหลักของ 5Q ผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้

white-male-1874801__340

– สนุกกับการใช้ IQ (Intelligence Quotient) แก้ปัญหาต่างๆ
– พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ EQ (Emotional Quotient)
– ก้าวข้ามอุปสรรค AQ (Adversity Quotient) อย่างกล้าหาญ
– แสดงผลงานอย่างมีคุณค่าด้วยความเป็นเจ้าของ OQ (Optimist Quotient)
– พัฒนาตนเองเพื่ออยู่ร่วมกับสังคม UQ (Unity Quotient) อย่างมีความสุข

-ได้ทดลองปฏิบัติผ่าน Workshop: กำหนดแนวทางพัฒนา 5Q ของตนเอง

cool-1015375__340

ลักษณะของการอบรม
เป็นการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการ ผ่าน Work Shop และกิจกรรมต่างๆโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า 5Q(IQ EQ OQ AQ UQ) และ OD ที่หลากหลายประเภทผสมผสานกัน เพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาทางวิชาการให้เข้าใจได้ง่าย สามารถนำไปปรับใช้กับการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีการ
1. บรรยายเนื้อหาวิชาการประกอบการทำ Work Shop และกิจกรรมกลุ่ม 
2. การใช้เครื่องมือทางด้าน 5Q และ OD tools และเทคนิคการฝึกอบรมหลายประเภท เช่น
• Ai (Appreciative Inquiry)
• Dialogue สุนทรียะสนทนา
• เกมพฤติกรรม
• Work Shop
• การระดมความคิดด้วย 5Q
• Clip VDO และอื่นๆ

download-1002802__340

หัวข้อสำคัญในการเรียนรู้
• หลักและวิธีการจัดการงานและคนอย่างมีประสิทธิภาพด้วย 5Q
o ใครคือคนที่องค์กรต้องการ
o บทบาทหน้าที่ของตัวเอง
o ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการจัดการ
o เรียนรู้คน จากโมเดลผู้นำ 4 ทิศ
• การสร้างแรงผลักดันให้ลูกน้องทำงานและมุ่งมั่นทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
o ทฤษฎีการสร้างแรงจูงใจ ในการทำงาน
• การประยุกต์กับการทำงานได้อย่างสัมฤทธิผลด้วย 5Q
• ทัศนคติที่ดีในการทำงาน
• Work Shop
o ผ่านกิจกรรมกลุ่ม 4-5 กิจกรรม In house
o ระดมสมอง และแชร์ความคิด

ความหลากหลายของกิจกรรม
– รู้จักตนเองเพื่อเข้าใจผู้อื่นด้วย 5Q
– ความแตกต่างของเจนเนอเรชัน (generations’ differences)
– เราเป็นค่าเฉลี่ยของคน 5 คน ที่เราใกล้ชิดมากที่สุด
– Work Shop 5Q ฝึกเล่าเรื่องตามคำสั่งและการแก้ปัญหา
– การพัฒนาตนเองเพื่อเสริมสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย 5Q
– Work Shop เดาใจเพื่อนด้วยตัวเลข (สงครามตัวเลข)
– Clip VDO การเข้าใจตนเอง
– เรียนรู้การทำงานของสมอง
– คิดด้วยสมอง…ทำด้วยใจ
– การสื่อสารแบบปากต่อปาก (Work Shop ใบ้คำ)
– ความหมายที่แท้จริงของชีวิต
– คำพังเพยไทย (Work Shop สนุกคลายเครียด)
– WHO ARE YOU (Work Shop)
– แบบทดสอบสัตว์สี่ทิศและความหมายของ 5Q
– Dialogue (พูดคุยกันแบบสบาย ๆ ในกิจกรรมที่ผ่านมา)
– คนเราแตกต่างกันอย่างไร? และเราจะได้ประโยชน์จากความเข้าใจความแตกต่างนั้นได้อย่างไร?

meeting-1002800_960_720

ใครควรเข้าร่วม?
1. บุคคลทั่วไปที่ต้องการเข้าใจตัวตนที่แท้จริงของตนเอง และผู้อื่น
2. บุคคลทั่วไปที่ต้องการเตรียมพร้อมสู่การเป็นหัวหน้างาน
3. ผู้บริหาร หัวหน้างาน ระดับปฏิบัติงาน ที่ต้องการพัฒนาตนเอง

รูปแบบหลักสูตร
1. การบรรยาย 30 %
2. เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop 70%

ผลสัมฤทธิ์ที่จะได้ (Outcomes)
บุคคล
• เรียนรู้ เข้าใจธรรมชาติและพื้นฐานของตนเอง และผู้อื่นด้วย 5Q
• เข้าใจตนเองและผู้อื่นด้วยแบบทดสอบสัตว์สี่ทิศและ 5Q
• สามารถใช้ 5Q เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
• เข้าใจวิธีลดความตึงเครียดในการทำงานร่วมกันด้วย 5Q
• สามารถนำความรู้เรื่อง 5Q ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข

equilibrist-1831016__180

ครอบครัว
• ได้ผู้นำครอบครัวและสมาชิกของครอบครัวที่เข้าใจธรรมชาติและพื้นฐานของตนเองและคนในครอบครัวด้วย 5Q
• จุดประกายความเข้าใจภายในครอบครัว เปิดใจ เอื้ออาทร ห่วงใยดูแลและรับฟังกันมากขึ้นเพราะมี 5Q
• สมาชิกในครอบครัวรู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเองอย่างเอื้ออาทรกันและกัน
• สมาชิกในครอบครัวมีความรัก ความเข้าใจ
• ประชาธิปไตยและเสรีภาพบนความรับผิดชอบร่วมกันเริ่มต้นที่ในบ้าน

family-521551__180

องค์กร
• ได้พนักงานที่มีทัศนคติเชิงบวกในการทำงาน
• พนักงานมีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
• นโยบายขององค์กรถูกขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติได้เร็วขึ้น
• ได้รับการยอมรับในเรื่ององค์กรยุคใหม่ใส่ใจในทุกๆ ด้านของผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรทั้งหมด (ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา ลูกค้าเรา และสิ่งแวดล้อมที่องค์กรเราอยู่ร่วมด้วย)
• ผลกำไรที่ยั่งยืน ส่งผลทำให้ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน ผู้ผลิตวัตถุดิบให้เรา ลูกค้าเรา และสิ่งแวดล้อมที่องค์กรเราอยู่ร่วมด้วย อยู่กันอย่างเกื้อกูล
• เป็นองค์กรที่มีความสำเร็จและความสุข

workplace-1245776__180

222

Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร)

หลักสูตร Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร)

 

หลักการและเหตุผล

6

 

  บทบาทหนึ่งที่พนักงานทุกคนควรมีนั่นก็คือ การมีส่วนช่วยผลักดันให้องค์กรประสบความสำเร็จมาจากการปฎิบัติงานที่มีพลังมีชีวิตชีวา ตั้งใจ ขยันขันแข็ง เต็มไปด้วยความกระตือรือร้น แต่ถ้าว่าในความเป็นจริงทุกองค์กรยังมีพนักงานบางส่วนที่ปฎิบัติงานอย่างไม่ตั้งใจสร้างผลงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพหรือต่ำกว่ามาตราฐานการทำงาน

        บางครั้งช่วงเวลาทำงานยังอาจแสดงพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เฉื่อยชา ไม่สนใจว่าผลงานจะออกมาดีหรือไม่ดีอย่างใด ไม่เคารพกติกาการอยู่ร่วมกัน อีกสารพัดปัญหาที่ทำให้พนักงานในองค์กรหมดไฟในการทำงาน      ด้วยเหตุที่พฤติกรรมของพนักงานแต่ละคนได้รับอิทธิพลจากแรงจูงใจและสิ่งกระตุ้นจากจิตสำนึกของตัวพนักงานนั้นเองและจากแรงจูงใจภายนอก

samuel-67196__180

       องค์กรที่จะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องมีผลมาจากความสุขของคนภายในองค์กร ซึ่งเป็นปัจจัยแรกที่องค์กรควรต้องคำนึงถึง เพราะฉะนั้น Happy workplace จึงเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้การบริหารงานราบรื่น เมื่อคนในองค์กรมีความสุข สนุกกับสิ่งที่ตัวเองทำ เกิดความภูมิใจ  เห็นคุณค่าของงาน

 

discuss-1702638__180

 การมองเห็นคุณค่าของงานและเพื่อนร่วมงาน   ตลอดจนรู้จัก เข้าใจคนรอบข้าง ทั้งหลายเหล่านี้ ทำให้เกิดการกระตุ้น เสริมพลังการทำงาน และสร้างแรงจูงใจ ในการเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลงานที่ดี เกิดความคิดสร้างสรรค์ ลดความขัดแย้งในการทำงาน เกิดวัฒนธรรมการทำงานที่ดี สามารถส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร ทำให้องค์กรเจริญก้าวหน้า และการพัฒนาที่ยั่งยืน

 

children-593313__180

  การได้รับอิทธิพลจากสภาพการณ์ต่างๆ ขององค์การทั้งทางกายภาพและสังคม หากเราสามารถสร้างปัจจัยเหล่านี้ให้กลายเป็นแรงบันดาลใจ ก่อให้เกิดปัญญาที่งดงาม สร้างประโยชน์ให้กับชีวิตและการงานได้อย่างสูงสุด เป็นรูปธรรม ก็จะนำไปสู่ความสำเร็จในชีวิตของพนักงานและขององค์กรโดยรวมอย่างมีความสุข

        การจะให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้นั้น บุคลากรต้องได้รับการเรียนรู้และเข้าใจในแนวคิดที่ถูกต้องในการทำงาน ปรับทัศนคติให้เป็นเชิงบวก สามารถนำสิ่งที่รู้และเข้าใจมาใช้ในการทำงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคน การจัดอบรมและสัมมนาเรื่อง องค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) จะช่วยสร้างจิตสำนึกในความรักและผูกพันของพนักงานให้เกิดมีขึ้นกับองค์กร พนักงานมีความสุขในการทำงาน มีการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

meeting-1453895__340

      จากการอบรมที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นส่วนงานไหน ปัญหาอย่างหนึ่งที่ทุกองค์กรประสบพบเจอก็คือ พนักงานเข้าอบรมแล้ว ช่วงแรกจะมีไฟในการทำงาน แต่หลังจากนั้นก็จะหมดไฟลงไปเรื่อยๆ แล้วก็รอปีต่อไปที่จะทำการจุดไฟให้ลุกขึ้นอีกครั้ง

man-1240832__180

  ซึ่งถ้ามาดูกันแล้วจะเห็นได้ว่าน่าจะอยู่แค่ประมาณ 1-2 เดือน ที่ผลงานจะดีขึ้น และหลังจากนั้นจะพบว่าประสิทธิภาพในการทำงานจะค่อยๆทรงตัวและลดลงไปในที่สุด ส่งผลให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ เริ่มไม่เห็นความสำคัญของการฝึกอบรม

         จึงมองแค่อบรมตามกฎหมายหรือตามนโยบายของบริษัท ทั้งๆที่การฝึกอบรมนั้นเป็นสิ่งสำคัญมาก แต่เพราะขาดความเข้าใจในการที่นำมาปรับใช้ และความต่อเนื่องในการอบรมรวมไป ทั้งการเฝ้าติดตามประเมินผลหลังอบรมไม่มีการติดตามผล (ก่อนอบรม หลังอบรมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน)

images-2

       และหลังจากการฝึกอบรมแล้วกลับมาในบรรยากาศเดิมๆ มีความขัดแย้ง และปล่อยให้มันกลายมาเป็นปัญหาใหญ่ขององค์กร บางครั้งก็สายเกินแก้ไขทำให้ สูญเสียโอกาสต่างๆ ในการแข่งขันทางธุรกิจอย่างน่าเสียดาย

 

workplace-1245776__180

 

   Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร) จึงเป็นแนวทางที่สำคัญยิ่งที่ผู้บริหารควรตระหนักถึงเพื่อสร้างบรรยากาศที่ดีและมีความสุขในการทำงาน ท้ายที่สุดก็จะส่งผลดีแก่ตัวผู้บริหารและองค์กรเอง

 

วัตถุประสงค์ :

 1.เพื่อเป็นแนวคิดทัศนคติและหลักการในการสร้างองค์กรแห่งความสุข และนำมาปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีก่อให้เกิดความสุข

2.เพื่อเป็นแนวปฏิบัติ และร่วมทำกิจกรรมสร้างประสบการณ์ในการสร้างองค์กรแห่งความสุข รวมทั้งได้กรอบแนวความคิดต่างๆ ในการทำงาน

3.เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการกำหนดนโยบายและสร้างองค์กรแห่งความสุข

4.เพื่อเกิดการเรียนรู้กระบวนการของ Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร) เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีรูปแบบและเห็นผล มีมุมมองปัญหาและอุปสรรคของงานที่เจออยู่ด้วยมุมมองใหม่ๆ สามารถนำวิธีการต่างๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

5.เพื่อเข้าใจวิถีแห่ง Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร) และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน

team-720291__180

เนื้อหาหลักสูตร:

 

Module 1 :  นิยามความสุขในที่ทำงาน

  • ความหมายที่แท้จริงของการสร้างความสุข
  • มุมมองรอบด้าน เพื่อใช้ในการเชื่อมโยงชีวิตกับการทำงานอย่างลงตัว ที่ประกอบไปด้วย

        Happy Body (สุขภาพดี) มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและจิตใจ

        Happy Heart (น้ำใจงาม) มีน้ำใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน

        Happy Family (ครอบครัวดี) มีครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคง

        Happy Brain (หาความรู้) การศึกษาหาความรู้ พัฒนาตนเองตลอดเวลา

        Happy Relax (ผ่อนคลาย) รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิต

        Happy Soul (ทางสงบ) มีความศรัทธาในศาสนา และการทำสมาธิ

       Happy Society (สังคมดี) มีความรักสามัคคี เอื้อเฟื้อต่อชุมชนที่ตนทำงาน

equilibrist-1831016__180

  • ความสุข ความทุกข์ ทำหน้าที่ต่างกันอย่างไร และมีผลอะไรกับชีวิต
  • ร่วมกันออกแบบกิจกรรม “ความสุขในที่ทำงานของตัวคุณ”

 

Module 2  :  อะไรที่ทำให้ไปไม่ถึง ความสุข

  • งานไม่สร้างสรรค์ หรือ  คนไม่สร้างเสริม จึงไม่เกิดการสร้างสุข
  • องค์กรที่ไม่สร้างสุขเกิดจากสาเหตุอะไร
  • เทคนิคจัดการกับปัญหา และคนหมดไฟในที่ทำงาน
  • ร่วมทำกิจกรรม : หาที่มาของเหตุผลของการไม่มีความสุขในที่ทำงาน

 

question-mark-1495858__180

 

Module 3  ปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในการทำงาน

 

  • ความพร้อม และความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกาย
  • ความพร้อมของจิตใจ
  • วิถีการทำงาน
  • สัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อร่วมงาน หัวหน้า และลูกน้อง
  • สภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงาน
  • ร่วมทำกิจกิจกรรม : ผลงานที่ออกมาจากความสุขในการทำงาน

team-451372__340

 

Module 4 : เพิ่มพลังกายและพลังใจ มุ่งสู่ความสุขในการทำงาน 

ด้วยหลักการของ 5Q (IQ EQ OQ AO UQ)

 

  • พัฒนาทักษะการทำงาน – ทำงานยากให้เป็นงานง่าย
  • สร้างแรงบันดาลใจ ในการทำงาน
  • เสริมสร้างแรงกาย ปลุกพลังใจ  ในการทำงาน
  • กิจกรรม : เติมเต็มความสุขในการทำงาน
  • พัฒนาทักษะชีวิต – เสริมสร้างมุมมองเพื่อการเปลี่ยนแปลง
  • วิธีผ่อนคลายความเครียดในที่ทำงาน
  • ผ่อนคลายสรีระ
  • ผ่อนคลายอารมณ์
  • ผ่อนคลายการกระทำ
  • กิจกรรม : การผ่อนคลายความเครียด

5_kids_in_circle

 

สรุปคำถามและคำตอบ

 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ:

 1.เพื่อเป็นแนวคิดทัศนคติและหลักการในการสร้างองค์กรแห่งความสุข และนำมาปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีก่อให้เกิดความสุข

2.ผู้เข้าอบรมจะได้แนวปฏิบัติ และร่วมทำกิจกรรมสร้างประสบการณ์ในการสร้างองค์กรแห่งความสุข รวมทั้งได้กรอบแนวความคิดต่างๆ ในการทำงาน

3.ผู้เข้าอบรมได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการกำหนดนโยบายและสร้างองค์กรแห่งความสุข

4.ผู้เข้าอบรมได้เกิดการเรียนรู้กระบวนการของ Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร) เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างมีรูปแบบและเห็นผล มีมุมมองปัญหาและอุปสรรคของงานที่เจออยู่ด้วยมุมมองใหม่ๆ สามารถนำวิธีการต่างๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

5.ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจวิถีแห่ง Happy workplace องค์กรแห่งความสุข (สุนทรียะแห่งองค์กร) และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน

help-1276257__340

 กลุ่มเป้าหมายและจำนวนผู้เข้าอบรม

       พนักงานทุกระดับที่ต้องการมีความสุขและบรรยากาศที่ดีในการทำงาน

water-263054__180

พัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์

หลักสูตร พัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์

Creative Thinking Skill Development

 light-bulb-1042480__180

หลักการและเหตุผล

ความคิดนอกกรอบในองค์กร

         ความคิดนอกกรอบในองค์กรถือเป็นการปฏิวัติกระบวนการทำงานแบบเดิม ๆ ที่เคยใช้ในการบริหารจัดการในอดีต ยิ่งปัจจุบันเทคโนโลยีการสื่อสารได้เข้ามามีบทบาท ทำให้การรับรู้ของบุคลากรเติบโตอย่างรวดเร็ว ความคิดใหม่ ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา หากมนุษย์มิได้มีการพัฒนาความคิด หรือนำความคิดดังกล่าวออกมาแสดง ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นความคิดอย่างเสรี

           ผู้ที่มีอิทธิพลในกระบวนการคิดนอกกรอบในองค์กร คือ ระดับผู้บริหาร เพราะองค์กรจะเดินไปในแนวทางใด ขึ้นกับผู้บริหารในการแสดงวิสัยทัศน์ขององค์กร แต่องค์กรโดยส่วนใหญ่ต่างให้ความสำคัญกับการตลาด (Marketing) เป็นอันดับแรก รองลงมาคือเรื่องของค่าเสื่อมสภาพ (Maintenances) ก่อนจะมาถึงเรื่องของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Development–HRD) ซึ่งมักจะให้ความสำคัญอยู่ในอันดับท้ายสุด

bulb-40701__180

          การที่จะให้องค์กรเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนามนุษย์เป็นอันดับแรก ก่อนที่จะสนใจในสิ่งอื่น ๆ เพราะมนุษย์เป็นผู้ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของทรัพยากรเหล่านั้น

         ปัจจุบันนี้หลายองค์กรเริ่มหันมาให้ความสนใจกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากขึ้น แต่ก็ยังไม่สามารถพัฒนาให้ตรงตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่วางไว้ หรือก้าวเข้าสู่วิสัยทัศน์ (Vision) ที่องค์กรได้วางไว้

cube-1002897__180

       ผู้บริหารและทุก ๆ คนในองค์กร มีส่วนผลักดันให้เกิดการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกันได้ แต่ต้องไม่ลืมว่า บุคคลแต่ละบุคคลต่างมีเป้าหมายเป็นของตนเอง เพียงแต่ยังไม่ได้ถูกนำออกมาใช้

         การคิดนอกกรอบ เป็นแนวทางเบื้องต้น ในการพัฒนาสังคมให้ก้าวหน้าต่อไปได้  เพราะการคิดนอกกรอบเป็นพลังขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ไม่มีที่สิ้นสุด

water-263054__180-1

         การคิดเพียงอย่างเดียวมิได้ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ แต่การที่ได้นำความคิดมาเขียน หรือปฏิบัติได้จริง เท่ากับเป็นการนำความเป็นนามธรรม (Intangible) แปรเปลี่ยนให้กลายเป็นรูปธรรม (Tangible) ที่สามารถจับและสัมผัสได้

         ความคิดของมนุษย์ต่างก็มีค่ามีความสำคัญกันทั้งสิ้น เพียงแต่ยังไม่มีช่วงเวลาที่จะให้ได้นำออกมาใช้ ก็เพียงเพราะว่า บุคลากรรุ่นแรก ๆ ยังไม่ละทิ้งความต้องการทะยานอยากในด้านต่าง ๆ

         โดยเฉพาะด้านอำนาจกลัวว่าตนเองจะเสียอำนาจ เสียการปกครอง มิได้คำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง มองเห็นแต่ประโยชน์ส่วนตนที่ควรจะได้รับ ไม่รู้จักการวางมือหรือการละวาง ดำเนินตามทางสายกลางตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า ที่ให้ผู้ปฏิบัติเดินทางสายกลาง ไม่ตึงไม่หย่อนจนเกินไป

artwork-142877__180

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

  1. ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่า “คนเราทุกคนล้วนมีความแตกต่างกัน…ต้องรู้จักให้เกียรติซึ่งกันและกัน”
  2. ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่า “สิ่งดีๆ และมีคุณค่าบางอย่างล้วนเกิดขึ้นได้เพราะความแตกต่างของคน”
  3. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ว่า “รากฐานของการมีความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์นั้นต้องเริ่มต้นที่การมีความคิดเชิงบวก”
  4. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการมีความคิดริเริ่ม”
  5. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการมีความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์”
  6. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการคิดอย่างเป็นระบบ”
  7. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์”
  8. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “วิธีการระดมสมองเพื่อให้ได้มาซึ่งความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์”

suit-673697__180

หัวข้อการอบรม

  ภาพรวมของการคิด

  • กระบวนการคิด (Thinking Process)
  • ความคิดเชิงบวก (Positive Thinking)
  • ความคิดริเริ่ม (Initiative Thinking)
  • ความคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking or Think out of the box)
  • ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
  • การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking)

 

idea-1452962__180

กิจกรรมเพื่อการฝึกฝนพัฒนาทักษะการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์

กิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึกฝนการระดมสมอง (Brain Storming) ให้ได้มาซึ่งความคิดดีๆ

เทคนิคในการให้ได้มาซึ่งความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ เช่น

  • หลักการคิดด้วยมิติ 4 ย. (โยง,ใหญ่,แยก,ย่อย)
  • การคิดด้วยหมวก 6 ใบ, การคิดแบบผู้ชนะ 10 คิด
  • การดักจับความคิด (Idea spotting)
  • กระบวนการจัดลำดับความคิด
  • การประยุกต์ใช้ในการเขียนภาพภูมิความคิด (Mind Map & Concept Map)
  • เทคนิค “Look Good…Look Bad” (ถ้าจะต้องดูดีและไม่ดูแย่…จะต้องทำอย่างไรบ้าง)
  • เทคนิค “สมมุติว่าถ้ามันเป็นอย่างนั้น…ถ้ามันเป็นอย่างนี้…แล้วจะทำอย่างไร”
  • เทคนิค “ไม่พอใจกับสิ่งที่มีอยู่…หรือสิ่งที่เป็นอยู่”
  • เทคนิค “เข้าไปดูใกล้ๆ…ถอยไปดูห่างๆ”
  • เทคนิค “ตรงกันข้าม”
  • เทคนิค “คุณสมบัติและคุณประโยชน์”
  • เทคนิค “Mind Map”
  • เทคนิค “องค์ประกอบ”
  • เทคนิค “ต้นน้ำ…ปลายน้ำ” ฯลฯ เป็นต้น

anvil-1169340__180

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมได้มีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่า “คนเราทุกคนล้วนมีความแตกต่างกัน…ต้องรู้จักให้เกียรติซึ่งกันและกัน”
  2. ผู้เข้าอบรมได้มีความเข้าใจอย่างแท้จริงว่า “สิ่งดีๆ และมีคุณค่าบางอย่างล้วนเกิดขึ้นได้เพราะความแตกต่างของคน”
  3. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ว่า “รากฐานของการมีความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์นั้นต้องเริ่มต้นที่การมีความคิดเชิงบวก”
  4. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการมีความคิดริเริ่ม”
  5. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการมีความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์”
  6. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “คุณค่าของการคิดอย่างเป็นระบบ”
  7. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์”
  8. ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ “วิธีการระดมสมองเพื่อให้ได้มาซึ่งความคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์”

the-strategy-1080534__180

รูปแบบหลักสูตร

1.การบรรยาย                                                     50 %

2.เกมส์ / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop   50%

lightbulb-1246589__180